วันจันทร์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2557

อนุทิน ครังที่ 16

บันทึกอนุทิน
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอนอาจารย์ ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี  1 ธันวาคม 2557 ครั้งที่ 16
เวลาเข้าสอน 08.00 น. เวลาเรียน 08.30 น.


วันนี้อาจารย์เก็บใบ "สีชมพู" เพื่อรวมคะแนน แล้วแจกคืนไว้ให้เป็นที่ระลึก
แล้วอาจารย์ก็แจกกระดาษให้เขียน
1. ความรู้สึกหลังที่ได้เรียนวิชานี้
2. สิ่งที่ชอบและอยากให้อาจารย์คงไว้
3. สิ่งที่ไม่ชอบและอยากให้อาจารย์ปรับปรุง

โดยที่ไม่ต้องเขียนชื่อแสดงเจ้าของ
วิชานี้ตกลงสอบในตาราง คือ วันที่ 9 ธันวาคม 2557
เวลา 13:00-15.00  ห้อง 15-0604  ที่นั่ง 7

และอาจารย์ก็ยังมีตุ๊กตามาแจกให้เพื่อน 3 คน ที่ได้คะแนนเยอะ
หลังจากแจกตุ๊กตาเสร็จ อาจารย์ก็อวยพรขอให้สอบผ่าน ขอให้ได้ A กันเยอะ ๆ 

  

วันจันทร์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

อนุทิน ครั้งที่ 15

บันทึกอนุทิน
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอนอาจารย์ ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี  24 พฤศจิกายน 2557 ครั้งที่ 15
เวลาเข้าสอน 08.00 น. เวลาเรียน 08.30 น.



เด็กสมาธิสั้น (ADHD)






วันจันทร์ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

อนุทิน ครั้งที่ 14

บันทึกอนุทิน
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอนอาจารย์ ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี  17 พฤศจิกายน 2557 ครั้งที่ 14
เวลาเข้าสอน 08.00 น. เวลาเรียน 08.30 น.


วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน

อาจารย์ให้ไปร่วมจัดงาน วิชา การจัดประสบการณ์นาฏศิลป์และเพลงสำหรับเด็กปฐมวัย
ณ ลานใต้ตึก  คณะศึกษาศาสตร์








จากการจัดงานในวันนี้เพื่อน ๆ ทั้งปี.3 ร่วมแรงร่วมใจทำกันอย่างเต็มที่ โดยการแบ่งงานกันทำคนละฝ่าย 
และดิฉันได้อยู่ฝ่าย ลงทะเบียน คือ รอให้คนที่เข้าร่วมงานมาเซ็นต์ชื่อ เข้าร่วมงาน 








วันจันทร์ที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

อนุทิน ครั้งที่ 13

บันทึกอนุทิน
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอนอาจารย์ ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี  10 พฤศจิกายน 2557 ครั้งที่ 13
เวลาเข้าสอน 08.00 น. เวลาเรียน 08.30 น.


การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรมเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ


เด็ก Down's Syndrome


การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้

      ได้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลรักษา การส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก Down's Syndrome เพราะถ้าเด็ก Down's Syndrome มีการเลี้ยงดูที่ดี มีการเอาใส่ใจให้ความอบอุ่น และส่งเสริมพัฒนาการของเขาอย่างถูกวิธี และเต็มที่ เขาก็สามารถดำรงชีวิตต่อได้ พึ่งพาตัวเองได้ 


ประเมินตนเอง

            ตั้งใจฟังที่อาจารย์อธิบายเนื้อหา ทำความเข้าใจของเด็ก Down's Syndrome

ประเมินเพื่อนๆ

            เพื่อน ๆ ในห้อง อาจจะมีคุยกันบ้าง แต่ก็ตั้งใจฟังที่อาจารย์ อาจารย์อธิบายให้ฟัง


ประเมินอาจารย์

            อาจารย์เตรียมความพร้อมในการสอนได้ดีมาก มี Powerpoint และมีเอกสารมาให้เข้าไปโหลด มาเป็นแนวการสอน เป็นสิ่งที่ต้องเรียนแต่ละสัปดาห์ เพื่อความรวดเร็วในการสอน และอาจารย์ก็ยังอธิบายเนื้อหาได้ละเอียด ทำให้เข้าใจง่าย




วันจันทร์ที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

อนุทิน ครั้งที่ 12

บันทึกอนุทิน
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอนอาจารย์ ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี  3 พฤศจิกายน 2557 ครั้งที่ 12
เวลาเข้าสอน 08.00 น. เวลาเรียน 08.30 น.


วันนี้อาจารย์บอกคะแนนข้อสอบ และ เฉลยข้อสอบ



วันจันทร์ที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2557

อนุทิน ครั้งที่ 11

บันทึกอนุทิน
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอนอาจารย์ ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี  27 ตุลาคม 2557 ครั้งที่ 11
เวลาเข้าสอน 08.00 น. เวลาเรียน 08.30 น.
 

 
ไม่มีการเรียนการสอน เพราะอาจารย์ให้  "สอบ"  ในคาบเรียน
 

วันจันทร์ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2557

อนุทิน ครั้งที่ 10

บันทึกอนุทิน
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอนอาจารย์ ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี  20 ตุลาคม 2557 ครั้งที่ 10
เวลาเข้าสอน 08.00 น. เวลาเรียน 08.30 น.
 


เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
 
(Children with Behavioral and Emotional Disorders)
 

 
เด็กสมาธิสั้น
 
(Children with Attention Deficit Hyperactivity Disorders) เรียกย่อ ๆ ว่า "ADHD"
 
 




 เด็กพิการซ้อน
 
(Children with Multiple Handicaps)
 


การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้

           ได้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมของเด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ และเด็กพิการซ้อน ได้รู้ลักษณะ นิสัยส่วนใหญ่ของเด็กละประเภท ทำให้เราสอน และดูแล จัดกิจกรรมให้เขาได้อย่างถูกวิธีและเหมาะสมกับเด็กแต่ละประเภท

ประเมินตนเอง

           ตั้งใจฟังอาจารย์อธิบายเนื้อหา และได้อัดวีดีโอที่อาจารย์นำมาเสนอ นำมาให้ดู ให้ศึกษา เพื่อกลับมาทำความเข้าใจมากขึ้น 

ประเมินเพื่อนๆ

           เพื่อน ๆ ในห้อง อาจจะมีคุยกันบ้าง หลับบ้าง แต่ก็ตั้งใจฟังที่อาจารย์อธิบายให้ฟัง

ประเมินอาจารย์

           อาจารย์เตรียมความพร้อมในการสอนได้ดีมาก มีทั้งวีดีโอ Powerpoint และเอกสารมาแจก เพื่อความรวดเร็วในการสอน และอาจารย์ก็ยังอธิบายเนื้อหาได้ละเอียด ทำให้เข้าใจง่าย
 

วันจันทร์ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2557

อนุทิน ครั้งที่ 9

บันทึกอนุทิน
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอนอาจารย์ ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี  13 ตุลาคม 2557 ครั้งที่ 9
เวลาเข้าสอน 08.00 น. เวลาเรียน 08.30 น.
 

 
เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ (Children with Learning Disabilities)
 

 
ออทิสติก (Autistic)
 
 
 

การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้

          ได้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ว่าหมายความว่าอะไร มีลักษณะอย่างไร? ก็ทำให้เวลาที่ได้ไปฝึกสอน หรือเวลาที่เจอสถานการณ์จริง จะได้รู้วิธีรับมือกับเด็กประเภทนี้ถูกวิธี


ประเมินตนเอง
            ตั้งใจฟังที่อาจารย์อธิบายเนื้อหา ทำความเข้าใจของเด็กแต่ละประเภท

ประเมินเพื่อนๆ

            เพื่อน ๆ ในห้อง อาจจะมีคุยกันบ้าง แต่ก็ตั้งใจฟังที่อาจารย์ อาจารย์อธิบายให้ฟัง

ประเมินอาจารย์

            อาจารย์เตรียมความพร้อมในการสอนได้ดีมาก มีทั้งวีดีโอ Powerpoint และเอกสารมาแจก เพื่อความรวดเร็วในการสอน และอาจารย์ก็ยังอธิบายเนื้อหาได้ละเอียด ทำให้เข้าใจง่าย

 

วันจันทร์ที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2557

อนุทิน ครั้งที่ 8

บันทึกอนุทิน
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอนอาจารย์ ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี  6  ตุลาคม  2557 ครั้งที่ 8
เวลาเข้าสอน 08.00 น. เวลาเรียน 08.30 น.

 
สัปดาห์นี้ "ไม่มีการเรียนการสอน"
 
เพราะเป็นสัปดาห์ของการ "สอบกลางภาค"
 
 
 
 

 

วันจันทร์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2557

อนุทิน ครั้งที่ 7

บันทึกอนุทิน
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี 29  กันยายน 2557 ครั้งที่ 7
เวลาเข้าสอน 08.00 น. เวลาเรียน 08.30 น.
 


วิชาเด็กพิเศษวันจันทร์ "ไม่มีการเรียนการสอน" 


ให้ทุกคนเคลียงานวิชาต่างๆ และทบทวนบทเรียน


*วิชาเด็กพิเศษจะสอบกลางภาค
วันจันทร์ที่ 20 ตุลาคม ในเวลาเรียน*
 
 
 

วันจันทร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2557

อนุทิน ครั้งที่ 6

บันทึกอนุทิน
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์  ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี  22  กันยายน  2557     ครั้งที่ 6 
เวลาเข้าสอน  08.00 น.    เวลาเรียน 08.30  น.


กิจกรรมที่เรียนในวันนี้

ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ

เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา
(Children with Speech and Language Disorders)




เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูด





เด็กที่มีความบกพร่องทางภาษา



เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ
(Children with Physical and Health Impairments)



โรคลมชัก (Epilepsy)




การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้

          ได้รู้เกี่ยวกับประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษมากขึ้น ทั้งเด็กที่ความบกพร่องทางการพูดและภาษา และเด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ ทำให้เรารู้รายละเอียดของเด็กประเภทต่าง ๆ ทั้งความหมาย ลักษณะ อาการ รวมถึงการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อเด็กมีอาการ และยังสามารถนำไปใช้ในการสอน การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กแต่ละประเภทได้เหมาะสม ถูกต้อง และถูกวิธี


ประเมินตนเอง
    
          ตั้งใจฟังที่อาจารย์อธิบายเนื้อหา ทำความเข้าใจของเด็กแต่ละประเภท 

ประเมินเพื่อนๆ 

          เพื่อนๆ ในห้องเรียนมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ให้อาจารย์และเพื่อนในห้องคนอื่นได้ฟัง และตั้งใจฟังที่อาจารย์สอน อาจจะมีคุยกันบ้าง แต่ก็เชื่อฟังอาจารย์ และตั้งใจเรียน

ประเมินอาจารย์

          อาจารย์มีเอกสารมาแจก เพื่อความรวดเร็วในการสอน และอาจารย์ก็ยังอธิบายเนื้อหาให้นักศึกษาฟังพร้อมมีรูปภาพ และวีดีโอมานำเสนอ เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจลักษณะเด็กแต่ละประเภทได้มากขึ้น

วันจันทร์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2557

อนุทิน ครั้งที่ 5

บันทึกอนุทิน
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์  ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี  15  กันยายน  2557     ครั้งที่ 5
เวลาเข้าสอน  08.00 น.    เวลาเรียน 08.30  น.


ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
แบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม ใหญ่ ๆ คือ

1. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความสามารถสูง มีความเป็นเลิศทางสติปัญญาเรียกโดยทั่วไปว่า "เด็กปัญญาเลิศ"





ตารางเปรียบเทียบระหว่าง เด็กฉลาด กับ เด็กปัญญาเลิศ


2. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความบกพร่อง 
          2.1 เด็กที่ความบกพร่องทางสติปัญญา (Children with Intellectual Disabilities) หมายถึง เด็กที่มีระดับสติปัญญาหรือเชาว์ปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ยเมื่อเทียบเด็กในระดับอายุเดียวกัน มี 2 กลุ่ม คือ เด็กเรียนช้า และเด็กปัญญาอ่อน

เด็กเรียนช้า



เด็กปัญญาอ่อน



ลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา



ดาวน์ซินโดรม (Down Syndrome)



          2.2 เด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน (Children with Hearing Impaired) หมายถึง เด็กที่มีความบกพร่อง หรือสูญเสียการได้ยินเป็นเหตุให้การรับฟังเสียงต่าง ๆ ได้ไม่ชัดเจน มี 2 ประเภท คือ เด็กหูตึง และเด็กหูหนวก

เด็กหูตึง



เด็กหูหนวก



ลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน



          2.3 เด็กที่บกพร่องทางการมองเห็น (Children with Visual Impairments)
                -  เด็กที่มองไม่เห็นหรือพอเห็นแสง เห็นเลือนราง
                -  มีความบกพร่องทางสายตาทั้งสองข้าง
                -  สามารถเห็นได้ไม่ถึง 1/10 ของคนสายตาปกติ
                -  มีลานสายตากว้างไม่เกิน 30 องศา จำแนกเป็น 2 ประเภท เด็กตาบอด และเด็กตาบอดไม่สนิท


เด็กตาบอด



เด็กตาบอดไม่สนิท



ลักษณะของเด็กบกพร่องทางการมองเห็น



การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้

          ได้รู้จักเด็กแต่ละประเภท เพื่อนำไปใช้ในอนาคตโดยการ สอน เพราะเราได้รู้อาการ ลักษณะ สาเหตุ ของเด็กแต่ละประเภทไปแล้วทำให้เราเลือกการเรียนการสอน การจัดกิจกรรม และการดูแลเด็กพิเศษได้เหมาะสม และถูกวิธี


ประเมินตนเอง
    
          แต่งกายเรียบร้อย จดบันทึก เนื้อหาที่อาจารย์สอน และฟังคำอธิบายของเด็กแต่ละประเภทเพื่อทำความเข้าใจ

ประเมินเพื่อนๆ 

          เพื่อนๆ แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจเรียน ตั้งใจจดบันทึก อาจจะมีคุยกันบ้างแต่ก็ตั้งใจเรียน มีการพูดคุยกับอาจารย์เพื่อให้เข้าใจเนื้อหามากขึ้น

ประเมินอาจารย์

          อาจารย์แต่งกายเรียบร้อยน่ารัก ท่านสอดแทรกกิจกรรมเข้ามาสอนเพื่อให้นักศึกษาผ่อนคลายและไม่เครียดในการเรียน อาจารย์อธิบายเนื้อหาได้ดี ทำให้นักศึกษาเข้าใจมากขึ้น และมีการยกตัวอย่างให้นักศึกษาเข้าใจมากยิ่งขึ้น